6/24/2555

หลักการของการบริหาร

การจำแนกหน้าที่การบริหารของผู้บริหารนั้น  ได้มีนักวิชาการจำแนกเอาไว้หลายท่าน ที่น่าสนใจ  ดังนี้ ลูเธอร์  กูลวิลด์ [1](Luther Gulick) ได้จำแนกหน้าที่ของการบริหารเอาไว้ 7 ประการ ที่เรียกว่าเป็นแบบการบริหาร คือ “POSDCORB  MODELS” ซึ่งประกอบด้วย ดังนี้

องค์ประกอบของการบริหาร (Management Component)


จากแนวความคิดการบริหารงานของนักวิชาการต่าง ๆ ที่ได้ในความหมายของการบริหารเอาไว้ ณรงค์  นันทวรรธนะ[1]ให้ความเห็นว่าการบริหารนั้นมีองค์ประกอบ  3  ประการ  คือ  
1.      เป้าหมาย (Goal)
2.      ปัจจัยการบริหาร (Factor of Management)  
3.      ลักษณะของการบริหาร  (Management  Style)  
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ความหมายของการบริหารการพัฒนา

ในทางสังคมศาสตร์ เป็นธรรมดาที่การแสดงแนวคิดหรือการให้ความหมายของคำใดคำหนึ่ง ย่อมหลากหลายและแตกต่างกันเป็นส่วนใหญ่  ไม่ว่าผู้แสดงแนวคิดหรือผู้ให้ความหมายมีประสบการณ์หรือมีพื้นฐานการศึกษาในสาขาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม  การให้แนวคิดและความหมายของการบริหารการพัฒนาก็มีลักษณะเช่นว่านี้เหมือนกัน
คำว่า  การบริหารการพัฒนา  นั้น  เขียนเป็นภาษา อังกฤษได้ว่า Development Administration หรือ administration of Development เนื่องจากเป็นการให้ความหมายของคำในทางสังคมศาสตร์

ความเป็นมาของการบริหารการพัฒนา

ซึ่งนับจากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน กระแสคลื่นการเปลี่ยนแปลงของโลกด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง รวดเร็ว โดยเฉพาะในช่วงสามศตวรรษที่ผ่านมา จากสังคมเกษตรเข้าสู่อุตสาหกรรม และเข้าสู่เทคโนโลยีข่าวสารข้อมูลในปัจจุบัน
- ยุคเกษตรกรรม สภาพเศรษฐกิจและสังคมเป็นสังคมแบบดั้งเดิม การผลิตด้าน การเกษตร เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ พึ่งพาธรรมชาติ สังคมเรียบง่ายไม่ซับซ้อนเป็นยุคอดีตจนก่อนการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม